หน้าแรก ITA แบบสอบถามความฯ Facebook Twitter Admin webmail

-: ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านตะโก:-

วิสัยทัศน์

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านตะโก กำหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนาท้องถิ่น ดังนี้
ยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี  การศึกษามีมาตรฐาน  เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ส่งเสริมเกษตรก้าวหน้า  พัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน”
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านตะโก  ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา   จำนวน  3  ยุทธศาสตร์ ดังนี้
 1. ด้านการบริการชุมชนและสังคม ประกอบด้วย
    - แผนงานเคหะและชุมชน
    - แผนงานการศึกษา
    - แผนงานการศาสนาและวัฒนธรร
มและนันทนาการ
    - แผนงานสังคมสงเคราะห์

    -แผนงานสร้างความเข็มแข็งของชุมชน
    -แผนงานสาธารณสุข

3.  ด้านการบริหารทั่วไป ประกอบด้วย
   
  -แผนงานบริหารทั่วไป
    -แผนงานการรักษาความสงบภายใน  
2. ด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย
    -แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา
    -แผนงานการเกษตร
3. พันธกิจ

      -ยึดหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
        -จัดทำวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
      -การช่วยเหลือเยียวยาช่วยเหลือประชาชนด้านภัยพิบัติต่างๆ
      -วางแผนการจัดการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็ก โรงเรียนอนุบาล
      -ส่งเสริมกิจกรรมเด็กและเยาวชน ประชาชน
      -การบริหารสนับสนุนการศึกษา  พัฒนาหลักสูตรการศึกษาและบริหารการผลิตสื่อการสอน
      -การป้องกันควบคุม และระงับยับยั้งโรคติดต่อ โรคระบาด
      - การช่วยเหลือประชาชนด้านสาธารณสุข การจัดบริการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
      -ส่งเสริมสุขภาพอนามัย การจัดสถานที่กักกันเพื่อป้องกันระงับโรคติดต่อ
      - สงเคราะห์สตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
      -จัดสวัสดิการสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
        -จัดสวัดิการสังคม ช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ยากไร้ ช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิต
      -พัฒนาแหล่งน้ำและระบบไฟฟ้าสาธารณะ
      -การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
      -ประชาชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
      -ส่งเสริมการกีฬาและนันทนการ  อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
      -วางแผนและส่งเสริมการท่องเที่ยว

      -ก่อสร้าง  พัฒนาซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง รื้อถอน สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
      -วางแผนส่งเสริมการเกษตร และให้บริการด้านวิชาการ

      -ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืช และองค์ความรู้ด้านการเกษตร

4. ตัวชี้วัด
        -
ระดับความสำเร็จของงานที่บริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล
      -ระดับความสำเร็จการส่งเสริมองค์กรในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นและการประพฤติมิชอบ
      -ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนงาน
      -ร้อยละของงานบริการที่ได้จัดทำมาตรฐานคู่มือการให้บริการ
      -ร้อยละผู้ด้อยโอกาสได้รับสวัสดิการสังคม
     -ระดับความสำเร็จด้านคุณภาพการศึกษา
     -ระดับความสำเร็จในการควบคุมสถานการณ์โรคระบาดต่างๆ
     -ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
     -ระดับความสำเร็จการพัฒนาคุณภาพ บริการด้านสาธารณสุข
     -ร้อยละโครงสร้างด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
     -ระดับความสำเร็จในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
     -ระดับความสำเร็จด้านจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
     -ระดับความสำเร็จการอนุรักษ์ศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีวิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น
     -ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมการท่องเที่ยว
     -จำนวนกลุ่มอาชีพที่ได้รับการเพิ่มพูนทักษะอาชีพ
     -ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ เกษตรปลอดภัย
     -ระดับความสำเร็จในการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรป่าไม้ พืชบำรุงดิน

 
5.  ค่าเป้าหมาย
     -ก่อสร้างถนนดิน,ลูกรัง,หินคลุก
     -ก่อสร้างถนน  คสล., ลาดยางปรับปรุงซ่อมแซมถนน
     -พัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
     -ก่อสร้างทางระบายน้ำ
     -ปรับปรุงขยายเขตระบบประปาหมู่บ้าน
     -ขยายเขตไฟฟ้าและปรับปรุงติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง
       -ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพ 
     -ส่งเสริมทะนุบำรุงศาสนา  ศิลปะ  วัฒนธรรม  จารีตประเพณี  ภูมิปัญญาท้องถิ่นและรัฐพิธี
     -ส่งเสริมและสนับสนุนการประเพณี  วัฒนธรรม  กีฬาเพื่อการท่องเที่ยว
       -ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดโดยพลังแผ่นดิน
     -ส่งเสริมพัฒนาปรับปรุงระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านต่าง  ๆ
     -ส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
     -เสริมสร้างระบบการรักษาความมั่นคง  และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
     -พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของสมาชิกสภาท้องถิ่น  ผู้บริหารท้องถิ่น  และ  บุคลากรภาครัฐ
       -พัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการบริการประชาชนให้มี ประสิทธิภาพ
     -สร้างงาน  สร้างอาชีพ  และเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชนและการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
     -การส่งเสริมสนับสนุนการสังคมสงเคราะห์  และพัฒนาคุณภาพชีวิต  แก่เด็ก  สตรี  คนชรา  พิการ  เอดส์และผู้ด้อยโอกาสอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
     -ส่งเสริมสนับสนุนด้านการสาธารณสุข  สุขภาพอนามัย  และการป้องกันควบคุมโรค
       -พัฒนาปัจจัยพื้นฐานการเกษตร  โดยเฉพาะแหล่งน้ำ
     -ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้มีคุณภาพ
     -ส่งเสริมและพัฒนาการจัดทำปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนปุ๋ยเคมีและสารเคมีเพื่อลดต้นทุนการผลิต
     -รณรงค์ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ดูแลรักษาต้นไม้
     -ส่งเสริมการให้บริการวิชาการและความรู้ด้านการเกษตร     
     - ส่งเสริมการดำเนินตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
     -การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
     -ศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบล

  6  กลยุทธ์
   
-ปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ  เพื่อรองรับความก้าวหน้าด้านคมนาคมขนส่ง  และความต้องการของประชาชน
   -ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชนด้านต่างๆ  ให้พึ่งพาตนเองได้
   -ส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชน
   -ส่งเสริมพัฒนาระบบการศึกษา พัฒนาสื่อการเรียนการสอน
   -ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน
   -ส่งเสริมบุคลากรยึดหลักธรรมภิบาลในการบริหารจัดการ

7  จุดยืนทางยุทธศาสตร์  (positioning)     
    1.  การจัดระบบสาธารณูปโภค  และสาธารณูปการให้ครบถ้วนเพียงพอแก่ความต้องการ

    2.  การพัฒนาระบบการศึกษาและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

    3.  ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนและความเข้มแข็งของชุมชน

    4.  การกำจัดขยะมูลฝอย  สิ่งปฏิกูลและมลภาวะสิ่งแวดล้อมที่มีอย่างยั่งยืน
    5.  การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐที่ดีและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

    6. ส่งเสริมการเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
    7. จัดระบบบริการด้านสาธารณสุข

    8. จัดสวัสดิการสังคมด้านต่างๆ ให้ครบถ้วนทั่วถึง

    9. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อให้เกิดการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหาของชุมชน

       -ปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ  เพื่อรองรับความก้าวหน้าด้านคมนาคมขนส่ง  และความต้องการของประชาชน

    -ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชนด้านต่างๆ  ให้พึ่งพาตนเองได้

    -ส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชน

    -ส่งเสริมพัฒนาระบบการศึกษา พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

    -ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน
 

 

                                  

เว็บไซต์ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง